motor, modification, motorsport, yamaha, honda, suzuki, kawasaki, ducati, ferrari, BMW, harley davidson, daytona, motocross, motor GP, KTM, bajaj more information about motorcycle modification, motor racing, design of motor, new and classic motor, bike modification, vehicle modification, exhaust modification, modification parts, motorcycle seat modification, motorcycle engine modification, motorcycle insurance
compressed air motor 02 pursuit - light motobike
The smart Students majoring in industrial design, the Royal Melbourne Institute of Technology (RMIT), Dean Benstead, managed to make a breakthrough by creating a moving motorcycle using high pressure air force (compressed air).As reported Visordown, Thursday, November 3, 2011, motor-named '02 Pursuit 'is a figure of future motorcycle, which offers an alternative fuel instead of gasoline."
Video moto 2012 NEW Suzuki GSX-R 1000
Here the reviews of Video moto 2012 NEW Suzuki GSX-R 1000 in youtube.here the youtube comment about this motorbike :Suzuki claimed the 2012 gsxr1000 was suppose to be an 'amazing' bike with all the bells and whistles and quite frankly im so disappointed. I held off from buying a new bike just to wait for the 2012 model and i see this...well, im no longer gonna support Suzuki. 2012 i will on a
moto 58 supersic in memmory ciao marco
“Fare il pilota di moto!”…Da bimbo avevo questo sogno qua, sognavo di correre e di vincere quelle gare di Motomondiale che guardavo la domenica in televisione con mio babbo.Quando andai, gasato da matti, a provare per la prima volta una mini-moto sulla pista di Cattolica, a 6 anni, ci rimasi malissimo, perché c’erano dei bambini che andavano come dei missili, e praticamente mi davano un giro
Moto Stunt Wallpapers Photos
Riding moto is like as a art. Moto Stunt Wallpapers Photos. may be its must be danger for amateur for di this act. but some people has dedicated and skill to do that.this high quality of motorcycle superbike wallpapers.
ดูแลมอเตอร์ไซค์ หลังลุยน้ำท่วม
ดูแลมอเตอร์ไซค์ หลังลุยน้ำท่วม (How to care a Flooded Motorcycle)
ช่วงนี้ที่ยังอยู่ในสถานการณ์น้ำท่วม เลยพานนึกถึงบรรดาสิงห์มอเตอร์ไซค์ที่ต้องขับขี่มอเตอร์ไซค์คู่กายลุยฝ่าพื้นที่น้ำท่วมกับเขาเหมือนกัน ซึ่งการดูแลรักษารถมอเตอร์ไซค์หลังจากที่ผู้ขับขี่ต้องผจญกับสภาวะน้ำท่วมนั้นก็ถือว่ามีความจำเป็นที่จะต้องดูแล และรักษาเพื่อให้รถของคุณมีอายุการใช้งานได้ยาวนาน
โดยปกติแล้วการดูแลรักษารถมอเตอร์ไซค์นั้น ไม่จำเป็นต้องรอให้น้ำท่วม หรือว่าต้องขับขี่ไปลุยน้ำเสียก่อนแล้วค่อยทำ เพราะสามารถทำได้ตลอดเวลาเมื่อคุณมีเวลาว่าง ยิ่งดูแลรักษาบ่อยๆ ยิ่งเป็นการดีกับรถมอเตอร์ไซค์ของคุณเอง
สิ่งที่ควรดูแลเมื่อขับขี่ในสภาวะน้ำท่วมก็คือ
ระบบเบรก
ระบบเบรก หลังจากที่ขับขี่รถลุยน้ำมาแล้ว น้ำจะเข้าไปอยู่ระหว่างหน้าสัมผัสของตัว ดรัมเบรกกับผ้าเบรก เมื่อนำรถไปขับขี่อีกครั้งจะทำให้เบรกไม่อยู่ การจอดทิ้งไว้สักพักไม่ได้ทำให้น้ำที่ค้างอยู่หายไป การแก้ไขที่ถูกต้องเมื่อขับลุยน้ำมาแล้ว ให้ขับขี่เป็นระยะทางสั้นๆ แล้วทำการเบรกหลายๆ ครั้ง เพื่อไล่น้ำให้ออกไปจากหน้าสัมผัสให้หมด ทางที่ดีที่สุดควรถอดผ้าเบรกออกมาทำความสะอาด ไล่น้ำ โดยการใช้ลมเป่าซึ่งจะทำให้ไล่น้ำออกไปอย่างรวดเร็วและหมดจด การย้ำเบรกหลายๆ ครั้ง ควรดูด้านหลังด้วยว่า มีรถตามมาหรือเปล่า และเมื่อเห็นว่าปลอดภัยแล้วจึงค่อยลงมือทำ
หัวเทียน
หัวเทียนนับว่ามีส่วนสำคัญไม่น้อย เมื่อขับรถลุยน้ำแล้วถึงที่หมาย ควรจะทำความสะอาดหัวเทียนโดยการถอดปลั๊กหัวเทียนออก หรือจะถอดหัวเทียนออกมาก็ได้แล้วใช้ลมเป่าเพื่อไล่น้ำ และความชื้นออกไปจากระบบ โดยเฉพาะในส่วนที่ลึกเช็ดเข้าไปไม่ถึง น้ำและความชื้นที่สะสมภายในระบบ จะทำให้เกิดสนิมบริเวณเหลี่ยมที่ขันหัวเทียน ทำให้การระบายความร้อน ที่เกิดจากการเผาไหม้ไม่สามารถทำได้อย่างเต็มที่ และทำให้การจุดระเบิดทำได้ไม่เต็มที่
น้ำมันเครื่อง
น้ำมันเครื่องอีกส่วนที่ต้องดูแลไม่แพ้ระบบอื่นๆ เมื่อผ่านการขับขี่ลุยน้ำมาแล้ว ถ้าไม่แน่ใจว่าจะมีน้ำเข้าไปในเครื่องหรือไม่ ให้สังเกตที่ช่องดูระดับ หรือเปิดฝาจุกเติมน้ำมันเครื่อง (รุ่นที่ไม่มีช่องดูระดับ) แล้วสังเกตที่ก้านวัดระดับน้ำมันเครื่องว่า น้ำมันเครื่องมีสีขาวขุ่นหรือไม่ ถ้ามีแน่ใจได้เลยว่ามีน้ำเข้าไปผสมกับน้ำมันเครื่องเรียบร้อยแล้ว วิธีการแก้ไขคือให้จัดการเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องออกทันที หากปล่อยทิ้งไว้ สนิม และความชื้นต่างๆ ในระบบ จะทำให้เกิดความเสียหายต่อชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ เพราะน้ำไม่มีหน้าที่ในการหล่อลื่นและปกป้องชิ้นส่วนของเครื่องยนต์
สาเหตุหลักที่ทำให้น้ำมันเครื่องเสื่อมสภาพได้ง่ายนั้นมีหลายปัจจัยโดยเฉพาะสิ่งที่ปนเปื้อนในน้ำมันหล่อลื่น เช่น ฝุ่นละออง, เขม่า, น้ำ, เชื้อเพลิง รวมถึงการใช้งาน ความร้อน ความกดดัน และปัจจัยต่างๆ
การขับขี่รถมอเตอร์ไซค์ลุยน้ำเป็นเวลานานๆ ผู้ขับขี่จะต้องดูแลและสนใจเป็นพิเศษหลังการใช้งานในแต่ละวัน ปริมาณการปนเปื้อนของน้ำในเครื่องยนต์เพียงเล็กน้อย อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อเครื่องยนต์ลดลง การดูแลรักษาจะช่วยให้รถของคุณสามารถใช้งานได้ตลอดเวลา ไม่ต้องเข้าร้านเพื่อทำการซ่อมแซม
ฝากไว้นิดนึงเพราะเพิ่งประสบมากับตัวเองกับรถประเภทออโตเมติก ซึ่งในขณะกำลังขับขี่ลุยน้ำที่สูงเกือบเข่า บังเอิญมีรถสวนมาทำให้น้ำเข้าท่อไอเสีย แล้วเครื่องดับช่วงนี้อย่ารีบสตาร์ตรถ ให้เข็นขึ้นที่แห้งหรือที่ไม่มีน้ำขัง แล้วจับรถเอียงมาทางฝั่งที่มีขาสตาร์ตให้น้ำที่อยู่บริเวณภายในระบบออกมาให้หมด จะเห็นว่ามีน้ำไหลเป็นทางออกมา หลังจากน้ำหมดแล้วค่อยสตาร์ตรถโดยใช้ขาสแตนด์หยั่งรถไว้สักพักแล้วค่อยขี่ออกไปดีกว่า
credit: http://www.siamsport.co.th/Motoring/111101_191.html
ช่วงนี้ที่ยังอยู่ในสถานการณ์น้ำท่วม เลยพานนึกถึงบรรดาสิงห์มอเตอร์ไซค์ที่ต้องขับขี่มอเตอร์ไซค์คู่กายลุยฝ่าพื้นที่น้ำท่วมกับเขาเหมือนกัน ซึ่งการดูแลรักษารถมอเตอร์ไซค์หลังจากที่ผู้ขับขี่ต้องผจญกับสภาวะน้ำท่วมนั้นก็ถือว่ามีความจำเป็นที่จะต้องดูแล และรักษาเพื่อให้รถของคุณมีอายุการใช้งานได้ยาวนาน
โดยปกติแล้วการดูแลรักษารถมอเตอร์ไซค์นั้น ไม่จำเป็นต้องรอให้น้ำท่วม หรือว่าต้องขับขี่ไปลุยน้ำเสียก่อนแล้วค่อยทำ เพราะสามารถทำได้ตลอดเวลาเมื่อคุณมีเวลาว่าง ยิ่งดูแลรักษาบ่อยๆ ยิ่งเป็นการดีกับรถมอเตอร์ไซค์ของคุณเอง
สิ่งที่ควรดูแลเมื่อขับขี่ในสภาวะน้ำท่วมก็คือ
ระบบเบรก
ระบบเบรก หลังจากที่ขับขี่รถลุยน้ำมาแล้ว น้ำจะเข้าไปอยู่ระหว่างหน้าสัมผัสของตัว ดรัมเบรกกับผ้าเบรก เมื่อนำรถไปขับขี่อีกครั้งจะทำให้เบรกไม่อยู่ การจอดทิ้งไว้สักพักไม่ได้ทำให้น้ำที่ค้างอยู่หายไป การแก้ไขที่ถูกต้องเมื่อขับลุยน้ำมาแล้ว ให้ขับขี่เป็นระยะทางสั้นๆ แล้วทำการเบรกหลายๆ ครั้ง เพื่อไล่น้ำให้ออกไปจากหน้าสัมผัสให้หมด ทางที่ดีที่สุดควรถอดผ้าเบรกออกมาทำความสะอาด ไล่น้ำ โดยการใช้ลมเป่าซึ่งจะทำให้ไล่น้ำออกไปอย่างรวดเร็วและหมดจด การย้ำเบรกหลายๆ ครั้ง ควรดูด้านหลังด้วยว่า มีรถตามมาหรือเปล่า และเมื่อเห็นว่าปลอดภัยแล้วจึงค่อยลงมือทำ
หัวเทียน
หัวเทียนนับว่ามีส่วนสำคัญไม่น้อย เมื่อขับรถลุยน้ำแล้วถึงที่หมาย ควรจะทำความสะอาดหัวเทียนโดยการถอดปลั๊กหัวเทียนออก หรือจะถอดหัวเทียนออกมาก็ได้แล้วใช้ลมเป่าเพื่อไล่น้ำ และความชื้นออกไปจากระบบ โดยเฉพาะในส่วนที่ลึกเช็ดเข้าไปไม่ถึง น้ำและความชื้นที่สะสมภายในระบบ จะทำให้เกิดสนิมบริเวณเหลี่ยมที่ขันหัวเทียน ทำให้การระบายความร้อน ที่เกิดจากการเผาไหม้ไม่สามารถทำได้อย่างเต็มที่ และทำให้การจุดระเบิดทำได้ไม่เต็มที่
น้ำมันเครื่อง
น้ำมันเครื่องอีกส่วนที่ต้องดูแลไม่แพ้ระบบอื่นๆ เมื่อผ่านการขับขี่ลุยน้ำมาแล้ว ถ้าไม่แน่ใจว่าจะมีน้ำเข้าไปในเครื่องหรือไม่ ให้สังเกตที่ช่องดูระดับ หรือเปิดฝาจุกเติมน้ำมันเครื่อง (รุ่นที่ไม่มีช่องดูระดับ) แล้วสังเกตที่ก้านวัดระดับน้ำมันเครื่องว่า น้ำมันเครื่องมีสีขาวขุ่นหรือไม่ ถ้ามีแน่ใจได้เลยว่ามีน้ำเข้าไปผสมกับน้ำมันเครื่องเรียบร้อยแล้ว วิธีการแก้ไขคือให้จัดการเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องออกทันที หากปล่อยทิ้งไว้ สนิม และความชื้นต่างๆ ในระบบ จะทำให้เกิดความเสียหายต่อชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ เพราะน้ำไม่มีหน้าที่ในการหล่อลื่นและปกป้องชิ้นส่วนของเครื่องยนต์
สาเหตุหลักที่ทำให้น้ำมันเครื่องเสื่อมสภาพได้ง่ายนั้นมีหลายปัจจัยโดยเฉพาะสิ่งที่ปนเปื้อนในน้ำมันหล่อลื่น เช่น ฝุ่นละออง, เขม่า, น้ำ, เชื้อเพลิง รวมถึงการใช้งาน ความร้อน ความกดดัน และปัจจัยต่างๆ
การขับขี่รถมอเตอร์ไซค์ลุยน้ำเป็นเวลานานๆ ผู้ขับขี่จะต้องดูแลและสนใจเป็นพิเศษหลังการใช้งานในแต่ละวัน ปริมาณการปนเปื้อนของน้ำในเครื่องยนต์เพียงเล็กน้อย อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อเครื่องยนต์ลดลง การดูแลรักษาจะช่วยให้รถของคุณสามารถใช้งานได้ตลอดเวลา ไม่ต้องเข้าร้านเพื่อทำการซ่อมแซม
ฝากไว้นิดนึงเพราะเพิ่งประสบมากับตัวเองกับรถประเภทออโตเมติก ซึ่งในขณะกำลังขับขี่ลุยน้ำที่สูงเกือบเข่า บังเอิญมีรถสวนมาทำให้น้ำเข้าท่อไอเสีย แล้วเครื่องดับช่วงนี้อย่ารีบสตาร์ตรถ ให้เข็นขึ้นที่แห้งหรือที่ไม่มีน้ำขัง แล้วจับรถเอียงมาทางฝั่งที่มีขาสตาร์ตให้น้ำที่อยู่บริเวณภายในระบบออกมาให้หมด จะเห็นว่ามีน้ำไหลเป็นทางออกมา หลังจากน้ำหมดแล้วค่อยสตาร์ตรถโดยใช้ขาสแตนด์หยั่งรถไว้สักพักแล้วค่อยขี่ออกไปดีกว่า
credit: http://www.siamsport.co.th/Motoring/111101_191.html
Subscribe to:
Posts (Atom)